zzzชื่อMU-SDGs Case Study: |
โครงการ“การศึกษาการจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมพัฒนาการการรับรู้ตนเอง ปัญญาเฉพาะตนและ ทักษะสมอง EF ของชั้นเรียนปฐมวัย : กรณีศึกษาโรงเรียนรุ่งอรุณ”
|
|||||
ส่วนงานหลัก: |
สถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว
|
|||||
ส่วนงานร่วม: | ||||||
ผู้ดำเนินการหลัก: | ผศ.ดร.ปนัดดา ธนเศรษฐกร | |||||
ผู้ดำเนินการร่วม: |
โรงเรียนรุ่งอรุณ สถาบันอาศรมศิลป์
|
|||||
คำอธิบาย: |
ศึกษาวิธีการจัดการเรียนรู้ของโรงเรียนรุ่งอรุณในการส่งเสริมพัฒนาการรับรู้ตนเอง ปัจจัยส่งเสริม และอุปสรรคต่อความสำเร็จของการจัดการเรียนการสอน พัฒนาการการรับรู้ตัวตน และ ทักษะสมอง EF ของนักเรียน
|
เน้นกระบวนการจัดประสบการณ์เรียนรู้ ที่ให้โอกาสเด็กปฐมวัยได้สะท้อนคิด และติดตามประเมินความรู้สึก ความคิด และการเรียนรู้ของตนเองที่เกิดขึ้นหลังจากจบกิจกรรมการเรียนรู้อีกด้วย ซึ่งเป็นกระบวนการที่เพิ่มเติมจากงานวิจัยชิ้นก่อนหน้านี้ โดยในทุกแผนการจัดประสบการร์เรียนรู้ ครูปฐมวัยจะออกแบบกระบวนการให้เด็กได้สะท้อนคิด ติดตามประเมินตนเอง ด้วยการตั้งคำถาม, การพูดถึงความรู้สึกของตนเองที่มีต่อผลงานตนเอง และเพื่อน, การติดตามการเรียนรู้ของตนเอง, และการชมเชยจนถึงคุณค่า ส่งผลให้เด็กปฐมวัยเกิดการจดจำแบบแผนการเรียนรู้ในชั้นเรียน
SDGs หลักที่สอดคล้องกับกิจกรรม : |
SDG4 เป้าประสงค์ย่อย : ไม่ระบุ
|
SDGs อื่นๆที่สอดคล้อง โปรดป้อนเลือกกลุ่ม, ชื่อและคำบรรยาย เพื่อใช้ในการแสดงผลเนื้อหาในหน้ารวมข้อมูลทั้งหมดของเมนูนี้บนเว็บไซต์ของคุณ |
||||||
SDGs อื่นๆที่สอดคล้อง : |
SDG17 เป้าประสงค์ย่อย : ไม่ระบุ
|
Key Message | ||||||
ผลการวิจัยได้นำสู่ข้อเสนอเชิงนโยบายในการพัฒนาทักษะ EF ให้กับเด็กปฐมวัย 2 ประเภท คือ ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเกี่ยวกับการดำเนินงานส่งเสริมทักษะสมอง EF ให้แก่เด็กปฐมวัย และ ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเกี่ยวกับกลไกการขับเคลื่อนการส่งเสริมทักษะสมอง EF ให้แก่เด็กปฐมวัย ซึ่งสามารถนำไปใช้ประกอบเป็นข้อมูลการประกาศใช้กฎหมาย หรือนโยบายและแนวทางในการดำเนินงาน และสร้างกลไกการขับเคลื่อนเรื่องการจัดการเรียนรู้ตามหลักไตรสิกขา และ EF Guideline สู่การปฏิบัติในการศึกษาปฐมวัย |
Links ข้อมูลเพิ่มเติม โปรดแนบลิงค์ที่เกี่ยวข้อง (อย่างน้อย 1 link) |
||||||
URL: |