zzzชื่อMU-SDGs Case Study: |
|
|||||||||||
ส่วนงานหลัก: |
สถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว
|
|||||||||||
ส่วนงานร่วม: | ||||||||||||
ผู้ดำเนินการหลัก: | ผศ.ดร.ปนัดดา ธนเศรษฐกร | |||||||||||
ผู้ดำเนินการร่วม: |
–
|
|||||||||||
คำอธิบาย: |
ผลของการใช้ EF guideline ต่อความสามารถในการสอนของครูระดับชั้นประถม และ ครูระดับชั้นมัธยม และทักษะสมอง EF ของนักเรียนระดับชั้นประถม และนักเรียนระดับชั้นมัธยม
|
การออกแบบการจัดการเรียนรู้ เพื่อส่งเสริมทักษะสมอง EF ตามแนวทาง EF Guideline มีขั้นตอนที่สำคัญคือ การออกแบบจุดประสงค์การเรียนรู้ที่ต้องครอบคลุมทั้งความรู้ ทักษะ และเจตคติ ครูผู้สอนจำเป็นต้องระบุอย่างชัดเจน และออกแบบกระบวนการสอนให้สอดคล้องกับจุดประสงค์แต่ละข้อด้วย ส่งผลให้กระบวนการของครู ต้องมีความท้าทาย เพื่อให้ทักษะสมอง EF ของนักเรียนทำงานจนเกิดเป็นทักษะหรือความสามารถที่เป็นเป้าหมายการสอนของครู และต้องมีการทบทวน เพื่อให้นักเรียนได้สะท้อนคิดถึงความรู้ใหม่ที่เกิดขึ้น และคุณค่าที่ได้รับจากการเรียนรู้ ดังนั้น นักเรียนจะได้ฝึกฝนทักษะสมอง EF ของตนเองในการเรียนรู้ และติดตามประเมินการเรียนรู้ของตนเองในขั้นทบทวน จึงทำให้ทักษะสมอง EF ของนักเรียนมีคะแนนเพิ่มขึ้น
SDGs หลักที่สอดคล้องกับกิจกรรม : |
SDG4 เป้าประสงค์ย่อย : 4.2
|
SDGs อื่นๆที่สอดคล้อง โปรดป้อนเลือกกลุ่ม, ชื่อและคำบรรยาย เพื่อใช้ในการแสดงผลเนื้อหาในหน้ารวมข้อมูลทั้งหมดของเมนูนี้บนเว็บไซต์ของคุณ |
||||||
SDGs อื่นๆที่สอดคล้อง : |
SDG17 เป้าประสงค์ย่อย : 17.14
|
Key Message | ||||||
เครื่องมือ EF Guideline ช่วยให้ครูได้คิดทบทวนการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมทักษะ EF ที่ผ่านมา สรุปเป็นแนวปฏิบัติในการเขียนแผนการการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมทักษะ EF ครั้งต่อไป จึงเป็นเครื่องมือสำคัญในการเรียนรู้ เป็นการชี้แนะแบบมองย้อนสะท้อนผลการทำงาน(reflective coaching) ช่วยให้บุคคลได้สะท้อนความสามารถของตน เพื่อหาจุดที่ต้องการความช่วยเหลือ เป็นการช่วยเหลือรายบุคคลในการนำความรู้ไปใช้ในการทำงานและพัฒนาความสามารถของตน ไม่ใช่การสอนสิ่งใหม่ อยู่บนพื้นฐานของความรู้หรือทักษะที่มีอยู่แล้ว |
Links ข้อมูลเพิ่มเติม โปรดแนบลิงค์ที่เกี่ยวข้อง (อย่างน้อย 1 link) |
||||||
URL: |