โครงการวิจัยและพัฒนาโปรแกรมการเรียนรู้ทางอารมณ์และสังคมเพื่อส่งเสริม ทักษะสมองEF ของนักเรียนสำหรับครูระดับชั้นประถมและมัธยม ส่วนงานหลัก: สถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว ส่วนงานร่วม: – ผู้ดำเนินการหลัก: ผศ.ดร.ปนัดดา ธนเศรษฐกร ผู้ดำเนินการร่วม: ศูนย์พัฒนาศักยภาพสมองเด็กด้วยวินัยเชิงบวก 101 Educare Center คำอธิบาย: เพื่อพัฒนาโปรแกรมการจัดการเรียนรู้ทางอารมณ์และสังคมเพื่อส่งเสริมทักษะสมอง EF ของนักเรียน สำหรับครูระดับประถมและมัธยมศึกษา และศึกษาความแตกต่างของทักษะสมอง EF ความสามารถในการจัดการเรียนรู้ทางอารมณ์และสังคม ของครูระดับชั้นประถมและมัธยมก่อนและหลังการเข้าร่วม “โปรแกรมการจัดการเรียนรู้ทางอารมณ์และสังคม เพื่อส่งเสริมทักษะสมองEF ของนักเรียน สำหรับครูระดับประถมและมัธยมศึกษา”

ชื่อMU-SDGs Case Study:
โครงการวิจัยและพัฒนาโปรแกรมการเรียนรู้ทางอารมณ์และสังคมเพื่อส่งเสริม ทักษะสมองEF ของนักเรียนสำหรับครูระดับชั้นประถมและมัธยม
ส่วนงานหลัก:
สถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว
ส่วนงานร่วม:
ผู้ดำเนินการหลัก:
ผศ.ดร.ปนัดดา ธนเศรษฐกร
ผู้ดำเนินการร่วม:
ศูนย์พัฒนาศักยภาพสมองเด็กด้วยวินัยเชิงบวก 101 Educare Center
คำอธิบาย:
เพื่อพัฒนาโปรแกรมการจัดการเรียนรู้ทางอารมณ์และสังคมเพื่อส่งเสริมทักษะสมอง EF ของนักเรียน สำหรับครูระดับประถมและมัธยมศึกษา และศึกษาความแตกต่างของทักษะสมอง EF ความสามารถในการจัดการเรียนรู้ทางอารมณ์และสังคม ของครูระดับชั้นประถมและมัธยมก่อนและหลังการเข้าร่วม “โปรแกรมการจัดการเรียนรู้ทางอารมณ์และสังคม เพื่อส่งเสริมทักษะสมองEF ของนักเรียน สำหรับครูระดับประถมและมัธยมศึกษา”

โปรแกรมการจัดการเรียนรู้ทางอารมณ์และสังคมเพื่อส่งเสริมทักษะสมอง EF ของนักเรียน สำหรับครูระดับชั้นประถมและมัธยม”ต่อความรู้ ความเข้าใจเรื่องการจัดการเรียนรู้ทางอารมณ์และสังคมเพื่อส่งเสริมทักษะสมอง EF พบว่า ภายหลังจากการเข้าร่วม “โปรแกรมการจัดการเรียนรู้ทางอารมณ์และสังคมเพื่อส่งเสริมทักษะสมอง EF ของนักเรียน สำหรับครูระดับชั้นประถมและมัธยม” ครูมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องการจัดการเรียนรู้ทางอารมณ์และสังคมเพื่อส่งเสริมทักษะสมอง EF เพิ่มขึ้น อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ เนื่องจากการเรียนรู้แบบ e – learning ที่มีการออกแบบด้วยการนำประเด็นความสำคัญ และการใช้คำถาม ช่วยให้ผู้เรียนรู้มีส่วนร่วมในการคิดตาม ทำให้เรียนง่าย ไม่เบื่อ ซึ่งสอดคล้องตามแบบจำลอง PERMA ในด้าน E – Engagement หรือการมีส่วนร่วมและผูกพัน ซึ่งเป็นการจดจ่ออยู่กับปัจจุบันขณะ และมุ่งความสนใจไปที่งานที่ทำอยู่ทั้งหมด เป็นสภาวะที่มีสมาธิกับสิ่งที่ทำ ซึ่งสภาวะนี้จะเกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อมีการสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสมาธิ เพื่อจดจ่อกับงานตรงหน้า และตัดสิ่งรบกวนต่างๆออกไป

SDGs หลักที่สอดคล้องกับกิจกรรม :
SDG4     เป้าประสงค์ย่อย :   ไม่ระบุ
SDGs อื่นๆที่สอดคล้อง :
SDG17     เป้าประสงค์ย่อย :   17.14