โครงการพัฒนาชุดความรู้ “สนามเด็กเล่น OKMD ตามหลักการพัฒนาสมอง”

ชื่อMU-SDGs Case Study: โครงการพัฒนาชุดความรู้ “สนามเด็กเล่น OKMD ตามหลักการพัฒนาสมอง” ส่วนงานหลัก: สถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว ส่วนงานร่วม: – ผู้ดำเนินการหลัก: คณะบรรณาธิการและคณะทำงาน โครงการพัฒนาชุดความรู้ “สนามเด็กเล่น OKMD ตามหลักการพัฒนาสมอง” ผู้ดำเนินการร่วม: สำนักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้ (องค์การมหาชน) คำอธิบาย: สถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว มหาวิทยาลัยมหิดล ร่วมกับสำนักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้ (องค์การมหาชน) จัดทำโครงการพัฒนาชุดความรู้ “สนามเด็กเล่น OKMD ตามหลักการพัฒนาสมอง เพื่อใช้สำหรับคุณครู…

การพัฒนาแบบวัดความสามารถการบริหารจัดการของสมองขั้นสูง (ฉบับประเมินตนเอง) สำหรับวัยรุ่นไทย

ชื่อMU-SDGs Case Study: การพัฒนาแบบวัดความสามารถการบริหารจัดการของสมองขั้นสูง (ฉบับประเมินตนเอง) สำหรับวัยรุ่นไทย ส่วนงานหลัก: สถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว ส่วนงานร่วม: – ผู้ดำเนินการหลัก: อาจารย์ ดร. นุชนาฎ รักษี ผู้ดำเนินการร่วม: นางอรพินท์ เลิศอวัสดาตระกูล นางสาวกนกพร ดอนเจดีย์ คำอธิบาย: โครงการพัฒนาแบบวัดความสามารถการบริหารจัดการของสมองขั้นสูงสำหรับวัยรุ่นไทย (ฉบับประเมินตนเอง) เพื่อพัฒนาแบบวัด EF สำหรับวัยรุ่นของประเทศไทย ตรวจสอบคุณภาพ และสร้างเกณฑ์ปกติวิสัย เพื่อเป็นเครื่องมือมาตรฐานในการประเมินตนเองที่เหมาะสมกับบริบทของประเทศไทย โครงการวิจัยการพัฒนาแบบวัดความสามารถการบริหารจัดกาของสมองขั้นสูงสำหรับวัยรุ่นไทย…

หลักสูตรผู้ประคอง : การสร้างสิ่งแวดล้อมปลอดภัย ด้วยการเลี้ยงดูเชิงบวก

ชื่อMU-SDGs Case Study: หลักสูตรผู้ประคอง : การสร้างสิ่งแวดล้อมปลอดภัย ด้วยการเลี้ยงดูเชิงบวก ส่วนงานหลัก: สถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว ส่วนงานร่วม: – ผู้ดำเนินการหลัก: ผศ.ดร. ปนัดดา ธนเศรษฐกร ผู้ดำเนินการร่วม: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สำนักพัฒนาสังคม กรุงเทพมหานคร กระทรวงศึกษาธิการ ภาคประชาชนผู้สนใจ คำอธิบาย: ดำเนินการจัดการเรียนรู้ออนไลน์ในหลักสูตร “หลักสูตรผู้ประคอง : การสร้างสิ่งแวดล้อมปลอดภัย ด้วยการเลี้ยงดูเชิงบวก ” โดยเข้าร่วมอบรมผ่านระบบ moodle…

หลักสูตรการพัฒนาและคุ้มครองเด็กที่ได้รับประสบการณ์ชีวิตไม่พึงประสงค์

ชื่อMU-SDGs Case Study: หลักสูตรการพัฒนาและคุ้มครองเด็กที่ได้รับประสบการณ์ชีวิตไม่พึงประสงค์ ส่วนงานหลัก: สถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว ส่วนงานร่วม: – ผู้ดำเนินการหลัก: รองศาสตราจารย์ นายแพทย์อดิศักดิ์ ผลิตผลการพิมพ์ ผู้ดำเนินการร่วม: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน กรมกิจการเด็กและเยาวชน สำนักการศึกษา กรุงเทพมหานคร กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น สำนักพัฒนาสังคม กรุงเทพมหานคร คำอธิบาย: ดำเนินการจัดการเรียนรู้ออนไลน์ในหลักสูตร “การพัฒนาและคุ้มครองเด็กที่ได้รับประสบการณ์ที่ไม่พึงประสงค์” โดยเข้าร่วมอบรมผ่านระบบ moodle e – learning ทั้งหมด…

โครงการพัฒนา EF ในกระบวนการดูแลและเรียนรู้ สำหรับเด็กปฐมวัยทั้งมวล

ชื่อMU-SDGs Case Study: โครงการพัฒนา EF ในกระบวนการดูแลและเรียนรู้ สำหรับเด็กปฐมวัยทั้งมวล ส่วนงานหลัก: สถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว ส่วนงานร่วม: – ผู้ดำเนินการหลัก: รองศาสตราจารย์ นายแพทย์อดิศักดิ์ ผลิตผลการพิมพ์ ผู้ดำเนินการร่วม: – คำอธิบาย: ท่ามกลางสถานการณ์การเพิ่มขึ้นของเด็กและเยาวชนที่มีความเปราะบาง พบว่า ปัจจุบันการจัดบริการสาธารณะเพื่อส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตของเด็กและเยาวชนที่มีความเปราะบางหรือที่มีความต้องการพิเศษยังขาดกลไกและบุคลากรที่มีความรู้ ทักษะ ประสบการณ์ และความเชี่ยวชาญในการดูแลและส่งเสริมพัฒนาการของเด็กกลุ่มนี้ และขาดมาตรฐานในการดูแลและส่งเสริมพัฒนาการให้แก่เด็กและเยาวชนที่มีความต้องการพิเศษด้านการเรียนรู้เหล่านี้ จึงจำเป็นต้องอาศัยความร่วมมือจากหน่วยงานที่มีความรู้ ประสบการณ์ และความเชี่ยวชาญเฉพาะทางวิชาการ ในการให้ความช่วยเหลือในสิ่งที่เป็นช่องว่างในการยกระดับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพื่อเสริมสร้างศักยภาพในการดูแลและส่งเสริมพัฒนาการให้แก่เด็กและเยาวชนที่มีความต้องการพิเศษด้านการเรียนรู้ ภาพเด็กไทยที่ทุกคนอยากเห็น…

โครงการวิจัยเพื่อสร้างแบบประเมินสติสำหรับเด็ก

ชื่อMU-SDGs Case Study: โครงการวิจัยเพื่อสร้างแบบประเมินสติสำหรับเด็ก ส่วนงานหลัก: สถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว ส่วนงานร่วม: – ผู้ดำเนินการหลัก: อ.ดร.ธีรตา ขำนอง ผู้ดำเนินการร่วม: โครงการอบรมอานาปาสติสำหรับชาวต่างชาติ สวนโมกข์นานาชาติ คำอธิบาย: พัฒนาแบบประเมินสติสำหรับเด็กพร้อมคู่มือการใช้สำหรับครูและผู้เกี่ยวข้อง นำไปใช้คัดกรองประเมินการมีสติในเด็ก และนำข้อมูลที่ได้ไปวางแผนกิจกรรมเกี่ยวกับการส่งเสริมและพัฒนาสติในเด็กปฐมวัยได้มีประสิทธิภาพ การพัฒนาเด็กและเยาวชนอย่างสมดุลรอบด้าน  ทั้งการพัฒนาทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญา  เป็นสิ่งที่ครู  ผู้ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาเด็ก รวมไปถึงพ่อแม่ ผู้ปกครอง  ได้พยายามที่จะส่งเสริม กระตุ้นพัฒนาเด็กอย่างเต็มที่   …

โครงการนำร่องการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ EF (Executive Functions) ในระดับปฐมวัยและเด็กที่มีความจำเป็นพิเศษ

ชื่อMU-SDGs Case Study: โครงการนำร่องการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ EF (Executive Functions) ในระดับปฐมวัยและเด็กที่มีความจำเป็นพิเศษ ส่วนงานหลัก: สถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว ส่วนงานร่วม: – ผู้ดำเนินการหลัก ผศ.ดร.ปนัดดา ธนเศณษฐกร ผู้ดำเนินการร่วม: 1.สมาคมอนุบาลศึกษาแห่งประเทศไทยฯ 2.โรงพยาบาลพญาเม็งราย 3.ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลพญาเม็งราย 4.โรงเรียนบ้านสันสะลีกวิทยา คำอธิบาย: ถอดบทเรียนแนวทางการพัฒนาครูปฐมวัยจัด ทำคู่มือแนวทางการจัดการเรียนการสอน จัดทำข้อเสนอเชิงนโยบายในการพัฒนาทักษะ EF ให้กับเด็กในระดับปฐมวัยและเด็กที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ การพัฒนาทักษะสมอง EF ให้กับเด็กปฐมวัยจะประสบความสำเร็จได้นั้น จำเป็นต้องมีกลไกสำคัญ…