โครงการ กรณีศึกษา: การวิจัยและพัฒนาต้นแบบการขยายพื้นที่ส่งเสริม EF ในอำเภอพญาเม็งราย อำเภอเชียงของ และ อำเภอเวียงแก่น จังหวัดเชียงราย

ชื่อMU-SDGs Case Study: โครงการ กรณีศึกษา: การวิจัยและพัฒนาต้นแบบการขยายพื้นที่ส่งเสริม EF ในอำเภอพญาเม็งราย อำเภอเชียงของ และ อำเภอเวียงแก่น จังหวัดเชียงราย ส่วนงานหลัก: สถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว ส่วนงานร่วม: – ผู้ดำเนินการหลัก: ผศ.ดร.ปนัดดา ธนเศรษฐกร ผู้ดำเนินการร่วม: คำอธิบาย: ขยายผล ศึกษาผลของกระบวนการขับเคลื่อนให้เกิดพื้นที่ส่งเสริม EF ต้นแบบที่มีต่อความสามารถของบุคคลากรทางการศึกษา เจ้าหน้าที่สาธารณสุข และ ทักษะสมอง EF ของเด็กปฐมวัยในอำเภอพญาเม็งราย…

โครงการ“การศึกษาการจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมพัฒนาการการรับรู้ตนเอง ปัญญาเฉพาะตนและ ทักษะสมอง EF ของชั้นเรียนปฐมวัย : กรณีศึกษาโรงเรียนรุ่งอรุณ”

ชื่อMU-SDGs Case Study: โครงการ“การศึกษาการจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมพัฒนาการการรับรู้ตนเอง ปัญญาเฉพาะตนและ ทักษะสมอง EF ของชั้นเรียนปฐมวัย : กรณีศึกษาโรงเรียนรุ่งอรุณ” ส่วนงานหลัก: สถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว ส่วนงานร่วม: – ผู้ดำเนินการหลัก: ผศ.ดร.ปนัดดา ธนเศรษฐกร ผู้ดำเนินการร่วม: โรงเรียนรุ่งอรุณ สถาบันอาศรมศิลป์ คำอธิบาย: ศึกษาวิธีการจัดการเรียนรู้ของโรงเรียนรุ่งอรุณในการส่งเสริมพัฒนาการรับรู้ตนเอง ปัจจัยส่งเสริม และอุปสรรคต่อความสำเร็จของการจัดการเรียนการสอน พัฒนาการการรับรู้ตัวตน และ ทักษะสมอง EF ของนักเรียน เน้นกระบวนการจัดประสบการณ์เรียนรู้…

โครงการวิจัยปฏิบัติการเชิงวิพากษ์เพื่อการพัฒนาความสามารถในการสอนของครู ระดับชั้นประถม และครูระดับชั้นมัธยม ด้วยเครื่องมือ EF Guideline

ชื่อMU-SDGs Case Study: โครงการวิจัยปฏิบัติการเชิงวิพากษ์เพื่อการพัฒนาความสามารถในการสอนของครู ระดับชั้นประถม และครูระดับชั้นมัธยม ด้วยเครื่องมือ EF Guideline ส่วนงานหลัก: สถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว ส่วนงานร่วม: – ผู้ดำเนินการหลัก: ผศ.ดร.ปนัดดา ธนเศรษฐกร ผู้ดำเนินการร่วม: คำอธิบาย: ผลของการใช้ EF guideline ต่อความสามารถในการสอนของครูระดับชั้นประถม และ ครูระดับชั้นมัธยม และทักษะสมอง EF ของนักเรียนระดับชั้นประถม และนักเรียนระดับชั้นมัธยม การออกแบบการจัดการเรียนรู้ เพื่อส่งเสริมทักษะสมอง…

โครงการวิจัยและพัฒนาโปรแกรมการเรียนรู้ทางอารมณ์และสังคมเพื่อส่งเสริม ทักษะสมองEF ของนักเรียนสำหรับครูระดับชั้นประถมและมัธยม ส่วนงานหลัก: สถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว ส่วนงานร่วม: – ผู้ดำเนินการหลัก: ผศ.ดร.ปนัดดา ธนเศรษฐกร ผู้ดำเนินการร่วม: ศูนย์พัฒนาศักยภาพสมองเด็กด้วยวินัยเชิงบวก 101 Educare Center คำอธิบาย: เพื่อพัฒนาโปรแกรมการจัดการเรียนรู้ทางอารมณ์และสังคมเพื่อส่งเสริมทักษะสมอง EF ของนักเรียน สำหรับครูระดับประถมและมัธยมศึกษา และศึกษาความแตกต่างของทักษะสมอง EF ความสามารถในการจัดการเรียนรู้ทางอารมณ์และสังคม ของครูระดับชั้นประถมและมัธยมก่อนและหลังการเข้าร่วม “โปรแกรมการจัดการเรียนรู้ทางอารมณ์และสังคม เพื่อส่งเสริมทักษะสมองEF ของนักเรียน สำหรับครูระดับประถมและมัธยมศึกษา”

ชื่อMU-SDGs Case Study: โครงการวิจัยและพัฒนาโปรแกรมการเรียนรู้ทางอารมณ์และสังคมเพื่อส่งเสริม ทักษะสมองEF ของนักเรียนสำหรับครูระดับชั้นประถมและมัธยม ส่วนงานหลัก: สถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว ส่วนงานร่วม: – ผู้ดำเนินการหลัก: ผศ.ดร.ปนัดดา ธนเศรษฐกร ผู้ดำเนินการร่วม: ศูนย์พัฒนาศักยภาพสมองเด็กด้วยวินัยเชิงบวก 101 Educare Center คำอธิบาย: เพื่อพัฒนาโปรแกรมการจัดการเรียนรู้ทางอารมณ์และสังคมเพื่อส่งเสริมทักษะสมอง EF ของนักเรียน สำหรับครูระดับประถมและมัธยมศึกษา และศึกษาความแตกต่างของทักษะสมอง EF ความสามารถในการจัดการเรียนรู้ทางอารมณ์และสังคม ของครูระดับชั้นประถมและมัธยมก่อนและหลังการเข้าร่วม “โปรแกรมการจัดการเรียนรู้ทางอารมณ์และสังคม เพื่อส่งเสริมทักษะสมองEF ของนักเรียน…

การวิจัยและพัฒนาโปรแกรมการสร้างวินัยเชิงบวกเพื่อส่งเสริมทักษะสมอง EF ของนักเรียน สำหรับครูระดับชั้นประถมและมัธยม

ชื่อMU-SDGs Case Study: การวิจัยและพัฒนาโปรแกรมการสร้างวินัยเชิงบวกเพื่อส่งเสริมทักษะสมอง EF ของนักเรียน สำหรับครูระดับชั้นประถมและมัธยม ส่วนงานหลัก: สถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว ส่วนงานร่วม: – ผู้ดำเนินการหลัก: ผศ.ดร.ปนัดดา ธนเศรษฐกร ผู้ดำเนินการร่วม: ศูนย์พัฒนาศักยภาพสมองเด็กด้วยวินัยเชิงบวก 101 Educare Center คำอธิบาย: พัฒนาโปรแกรมการสร้างวินัยเชิงบวกเพื่อส่งเสริมทักษะสมอง EF ของนักเรียน สำหรับครูระดับชั้นประถมและมัธยม และความแตกต่างของความสามารถในการใช้เทคนิควินัยการสร้างวินัยเชิงบวกของครูระดับชั้นประถมและมัธยมก่อนและหลัง ความแตกต่างของทักษะสมอง EF ของนักเรียน ก่อนและหลังการเข้าร่วม“โปรแกรมการสร้างวินัยเชิงบวกเพื่อส่งเสริมทักษะสมอง EF…

ประชุมเสวนาและแถลงข่าวเรื่อง“ข้อเสนอทางจริยธรรมในการประกอบธุรกิจ E-Sports เพื่อลดความเสี่ยงพฤติกรรมเสพติดอินเตอร์เน็ต ที่ส่งผลกระทบในทางลบต่อสุขภาพและพัฒนาการเด็ก”

ชื่อMU-SDGs Case Study: ประชุมเสวนาและแถลงข่าวเรื่อง“ข้อเสนอทางจริยธรรมในการประกอบธุรกิจ E-Sports เพื่อลดความเสี่ยงพฤติกรรมเสพติดอินเตอร์เน็ต ที่ส่งผลกระทบในทางลบต่อสุขภาพและพัฒนาการเด็ก” ส่วนงานหลัก: สถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว ส่วนงานร่วม: – คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี ผู้ดำเนินการหลัก: รศ.นพ.อดิศักดิ์ ผลิตผลการพิมพ์ ผู้ดำเนินการร่วม: กรมกิจการเด็กและเยาวชน มูลนิธิอินเทอร์เน็ตร่วมพัฒนาไทย สมาคมวิทยุและสื่อเพื่อเด็กและเยาวชน สถาบันสุขภาพจิตเด็กและวัยรุ่นราชนครินทร์ และเครือข่ายต่างๆที่เกี่ยวข้อง คำอธิบาย: เรียกร้องให้สมาคมกีฬาอีสปอร์ต ผู้ประกอบการอีสปอร์ต ต้องมีมาตรการป้องกันเด็กและเยาวชน รวมทั้งหน่วยงานรัฐภาคส่วนต่างๆ ได้มีส่วนร่วมในการกำกับดูแลกิจกรรมอีสปอร์ตอย่างคำนึงถึงผลกระทบทางลบที่อาจส่งผลต่อเด็กและสังคมในระยะยาว สถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว มหาวิทยาลัยมหิดล และเครือข่ายประกอบด้วย…

ร่าง พรบ.มวยเด็ก

ชื่อMU-SDGs Case Study: ร่าง พรบ.มวยเด็ก ส่วนงานหลัก: สถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว ส่วนงานร่วม: – คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี ผู้ดำเนินการหลัก: รองศาสตร์จารย์นายแพทย์ อดิศักดิ์ ผลิตผลการพิมพ์ ผู้ดำเนินการร่วม: คำอธิบาย: เด็กที่มีอายุ 0 – 14 ปี ยังมีกะโหลกที่เจริญเติบโตไม่เต็มที่ ข้อต่อกระดูกต่างๆ ยังเจริญเติบโตไม่เต็มที่ การได้รับบาดเจ็บจากการชกมวย งผลให้เด็กตัวเตี้ย แคระแกร็นกว่าเด็กปกติ และทำให้หยุดการพัฒนาการ ในทางการแพทย์พบว่า  เด็กที่มีอายุ…

มาตรฐานของเล่นเด็ก

MU-SDGs Case Study: มาตรฐานของเล่นเด็ก ส่วนงานหลัก: สถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว ส่วนงานร่วม: – คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี ผู้ดำเนินการหลัก: รองศาสตราจารย์ นายแพทย์อดิศักดิ์ ผลิตผลการพิมพ์ ผู้ดำเนินการร่วม: ศูนย์ทดสอบฉลาดซื้อ มูลนิธิเพื่อผู้บริโภค คำอธิบาย: การติดตามสุขภาพประชาชนในอเมริกา พบมีสารทาเลตสะสมในร่างกาย เนื่องจากสารชนิดนี้อยู่ใน เช่น สบู่ ยาสระผม ซึ่งจากการวิจัยกับสัตว์ทดลองในต่างประเทศ หากรับสารเคมีเข้าไปจะมีผลกระทบต่อการทำงานของตับ เป็นพิษต่อระบบสืบพันธุ์และระบบต่อมไร้ท่อของร่างกาย ทำให้ฮอร์โมนเพศผิดปกติ     รศ.นพ.อดิศักดิ์…

โครงการรักลูกให้รอดปลอดภัยเมื่อใช้รถ

MU-SDGs Case Study: โครงการรักลูกให้รอดปลอดภัยเมื่อใช้รถ ส่วนงานหลัก: สถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว ส่วนงานร่วม: – คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี ผู้ดำเนินการหลัก: รศ.นพ.อดิศักดิ์ ผลิตผลการพิมพ์ ผู้ดำเนินการร่วม: ราชวิทยาลัยกุมารแพทย์แห่งประเทศไทย คำอธิบาย: รศ.นพ.อดิศักดิ์ ผลิตผลการพิมพ์ ย้ำว่า การอุ้มเด็กนั่งบนตักพ่อแม่และคาดเข็มขัดนิรภัย รศ.นพ.อดิศักดิ์ ระบุว่าไม่ได้ทำให้ปลอดภัย เพราะเวลาเกิดอุบัติเหตุจะมีพลังงานการเคลื่อนที่ทำให้อ้อมกอดของแม่ ไม่สามารถรั้งลูกไว้อยู่ เด็กอาจกระเด็นออกนอกรถและเสียชีวิตได้ และถ้าเป็นรถยนต์ที่มีถุงลมนิรภัย การอุ้มเด็กนั่งบนตักทำให้เด็กเข้าใกล้ถุงลมนิรภัยเกินไป เวลาเกิดอุบัติเหตุจะมีพลังงานย้อนกลับ ทำให้เกิดอันตรายต่อตัวเด็ก 1. ที่นั่งนิรภัยต้องใช้ตั้งแต่ทารกแรกเกิด…

ผลของหลักสูตรพัฒนาอาจารย์สาขาปฐมวัยศึกษาในมหาวิทยาลัยราชภัฏต่อความรู้ ความเข้าใจ การรับรู้ความสามารถของตนเอง และทักษะการสอนวิชาสมองและการเรียนรู้ของอาจารย์สาขาปฐมวัยศึกษาในมหาวิทยาลัยราชภัฏ

ชื่อMU-SDGs Case Study: “ผลของหลักสูตรพัฒนาอาจารย์สาขาปฐมวัยศึกษาในมหาวิทยาลัยราชภัฏต่อความรู้ ความเข้าใจ การรับรู้ความสามารถของตนเอง และทักษะการสอนวิชาสมองและการเรียนรู้ของอาจารย์สาขาปฐมวัยศึกษาในมหาวิทยาลัยราชภัฏ” ส่วนงานหลัก: สถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว ส่วนงานร่วม: – ผู้ดำเนินการหลัก: ผศ.ดร.ปนัดดา ธนเศรษฐกร ผู้ดำเนินการร่วม: 101 Educare Center คำอธิบาย: ศึกษาผลของหลักสูตรพัฒนาอาจารย์สาขาปฐมวัยศึกษาในมหาวิทยาลัยราชภัฏต่อความรู้ ความเข้าใจการรับรู้ความสามารถของตนเองและทักษะการสอนวิชาสมองและการเรียนรู้ของอาจารย์สาขาปฐมวัยศึกษาและความเข้าใจการรับรู้ความสามารถของตนเองของนักศึกษาสาขาการศึกษาปฐมวัยในมหาวิทยาลัยราชภัฏ ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายในการเพิ่มคุณภาพบุคลากรการศึกษาปฐมวัยด้านความรู้สมองกับการเรียนรู้ และความสามารถในการส่งเสริมทักษะสมอง EF เด็กปฐมวัย และการนำหลักสูตรการฝึกอบรมอาจารย์สาขาการศึกษาปฐมวัยในสาระวิชาสมองและการเรียนรู้สำหรับเด็กปฐมวัย เป็นหนึ่งในวิชาหลักในหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย ขยายการจัดอบรมหลักสูตรการฝึกอบรมอาจารย์สาขาการศึกษาปฐมวัยในสาระวิชาสมองและการเรียนรู้สำหรับเด็กปฐมวัยไปสู่อาจารย์ในหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยในมหาวิทยาลัยทั่วประเทศ และขยายการจัดอบรมความรู้เรื่องสมองและการเรียนรู้ให้แก่ครูปฐมวัยในศูนย์เด็กเล็ก และโรงเรียนอนุบาล…