การวิจัยและพัฒนาโปรแกรมการสร้างวินัยเชิงบวกเพื่อส่งเสริมทักษะสมอง EF ของนักเรียน สำหรับครูระดับชั้นประถมและมัธยม

ชื่อMU-SDGs Case Study: การวิจัยและพัฒนาโปรแกรมการสร้างวินัยเชิงบวกเพื่อส่งเสริมทักษะสมอง EF ของนักเรียน สำหรับครูระดับชั้นประถมและมัธยม ส่วนงานหลัก: สถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว ส่วนงานร่วม: – ผู้ดำเนินการหลัก: ผศ.ดร.ปนัดดา ธนเศรษฐกร ผู้ดำเนินการร่วม: ศูนย์พัฒนาศักยภาพสมองเด็กด้วยวินัยเชิงบวก 101 Educare Center คำอธิบาย: พัฒนาโปรแกรมการสร้างวินัยเชิงบวกเพื่อส่งเสริมทักษะสมอง EF ของนักเรียน สำหรับครูระดับชั้นประถมและมัธยม และความแตกต่างของความสามารถในการใช้เทคนิควินัยการสร้างวินัยเชิงบวกของครูระดับชั้นประถมและมัธยมก่อนและหลัง ความแตกต่างของทักษะสมอง EF ของนักเรียน ก่อนและหลังการเข้าร่วม“โปรแกรมการสร้างวินัยเชิงบวกเพื่อส่งเสริมทักษะสมอง EF…

ผลของหลักสูตรพัฒนาอาจารย์สาขาปฐมวัยศึกษาในมหาวิทยาลัยราชภัฏต่อความรู้ ความเข้าใจ การรับรู้ความสามารถของตนเอง และทักษะการสอนวิชาสมองและการเรียนรู้ของอาจารย์สาขาปฐมวัยศึกษาในมหาวิทยาลัยราชภัฏ

ชื่อMU-SDGs Case Study: “ผลของหลักสูตรพัฒนาอาจารย์สาขาปฐมวัยศึกษาในมหาวิทยาลัยราชภัฏต่อความรู้ ความเข้าใจ การรับรู้ความสามารถของตนเอง และทักษะการสอนวิชาสมองและการเรียนรู้ของอาจารย์สาขาปฐมวัยศึกษาในมหาวิทยาลัยราชภัฏ” ส่วนงานหลัก: สถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว ส่วนงานร่วม: – ผู้ดำเนินการหลัก: ผศ.ดร.ปนัดดา ธนเศรษฐกร ผู้ดำเนินการร่วม: 101 Educare Center คำอธิบาย: ศึกษาผลของหลักสูตรพัฒนาอาจารย์สาขาปฐมวัยศึกษาในมหาวิทยาลัยราชภัฏต่อความรู้ ความเข้าใจการรับรู้ความสามารถของตนเองและทักษะการสอนวิชาสมองและการเรียนรู้ของอาจารย์สาขาปฐมวัยศึกษาและความเข้าใจการรับรู้ความสามารถของตนเองของนักศึกษาสาขาการศึกษาปฐมวัยในมหาวิทยาลัยราชภัฏ ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายในการเพิ่มคุณภาพบุคลากรการศึกษาปฐมวัยด้านความรู้สมองกับการเรียนรู้ และความสามารถในการส่งเสริมทักษะสมอง EF เด็กปฐมวัย และการนำหลักสูตรการฝึกอบรมอาจารย์สาขาการศึกษาปฐมวัยในสาระวิชาสมองและการเรียนรู้สำหรับเด็กปฐมวัย เป็นหนึ่งในวิชาหลักในหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย ขยายการจัดอบรมหลักสูตรการฝึกอบรมอาจารย์สาขาการศึกษาปฐมวัยในสาระวิชาสมองและการเรียนรู้สำหรับเด็กปฐมวัยไปสู่อาจารย์ในหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยในมหาวิทยาลัยทั่วประเทศ และขยายการจัดอบรมความรู้เรื่องสมองและการเรียนรู้ให้แก่ครูปฐมวัยในศูนย์เด็กเล็ก และโรงเรียนอนุบาล…

โครงการวิจัยและพัฒนาการออกแบบกิจกรรมสนามเด็กเล่นบนฐานการพัฒนาทักษะสมอง EF ในเด็กปฐมวัย

ชื่อMU-SDGs Case Study: โครงการวิจัยและพัฒนาการออกแบบกิจกรรมสนามเด็กเล่นบนฐานการพัฒนาทักษะสมอง EF ในเด็กปฐมวัย ส่วนงานหลัก: สถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว ส่วนงานร่วม: – ผู้ดำเนินการหลัก: ผศ.ดร.ปนัดดา ธนเศรษฐกร ผู้ดำเนินการร่วม: มูลนิธิศุภนิมิตแห่งประเทศไทย คำอธิบาย: พัฒนากิจกรรมสนามเด็กเล่นบนพื้นฐานการพัฒนาสมอง EF และพัฒนาคู่มือการจัดกิจกรรมสนามเด็กเล่นบนฐานพัฒนาสมอง EF สำหรับผู้เลี้ยงดูเด็กปฐมวัย และประเมินประสิทธิผลของกิจกรรมสนามเด็กเล่นบนฐานพัฒนาสมอง EF สำหรับผู้เลี้ยงดูเด็กปฐมวัย สนามเด็กเล่นส่งเสริมทักษะสมอง EF ระหว่างที่เด็ก ๆ กำลังเล่นในสนามเด็กเล่น หากมองภายนอก อาจดูหมือน…

โครงการวิจัยและพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมสำหรับผู้เลี้ยงดูเด็ก เรื่องการสร้างสิ่งแวดล้อมปลอดภัยด้วยการเลี้ยงดูเชิงบวกเพื่อส่งเสริมพัฒนาการเด็กอย่างเป็นองค์รวม

ชื่อMU-SDGs Case Study: โครงการวิจัยและพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมสำหรับผู้เลี้ยงดูเด็ก เรื่องการสร้างสิ่งแวดล้อมปลอดภัยด้วยการเลี้ยงดูเชิงบวกเพื่อส่งเสริมพัฒนาการเด็กอย่างเป็นองค์รวม ส่วนงานหลัก: สถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว ส่วนงานร่วม: – ผู้ดำเนินการหลัก: ผศ.ดร.ปนัดดา ธนเศรษฐกร ผู้ดำเนินการร่วม: มูลนิธิศุภนิมิตแห่งประเทศไทย คำอธิบาย: เพื่อพัฒนาหลักสูตรอบรมการสร้างสิ่งแวดล้อมปลอดภัย ด้วยการเลี้ยงดูเชิงบวกสำหรับผู้เลี้ยงดูเด็กปฐมวัย พัฒนาคู่มือการเลี้ยงดูเชิงบวก สำหรับผู้เลี้ยงดูเด็กปฐมวัยและเพื่อประเมินประสิทธิผลของหลักสูตรอบรมการสร้างสิ่งแวดล้อมปลอดภัยด้วยการเลี้ยงดูเชิงบวกสำหรับผู้เลี้ยงดูเด็กปฐมวัย ทักษะสมอง EF ที่พัฒนาขึ้นในวัยเด็ก เป็นตัวทำนายความสำเร็จในอนาคต ทั้งในเรื่องการเรียน การงาน และความสัมพันธ์ นอกจากนี้ทักษะสมอง EF ยังมีความสัมพันธ์กับความสามารถด้าน ภาษา…

โครงการพัฒนาแบบทดสอบความถนัดสำหรับเยาวชน และหลักสูตรค่ายเยาวชนตามความถนัดของผู้เรียน

ชื่อMU-SDGs Case Study: โครงการพัฒนาแบบทดสอบความถนัดสำหรับเยาวชน และหลักสูตรค่ายเยาวชนตามความถนัดของผู้เรียน ส่วนงานหลัก: สถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว ส่วนงานร่วม: – ผู้ดำเนินการหลัก: ผศ.ดร.พัชรินทร์ เสรี ผู้ดำเนินการร่วม: ศูนย์พัฒนาการศึกษาพิเศษ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ คำอธิบาย: เพื่อพัฒนาแบบทดสอบความถนัดตามหลักการพหุปัญญา และพัฒนาแนวทางการส่งเสริมความรู้และทักษะความถนัดสำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น และให้ความรู้ครูในการใช้แบบทดสอบความถนัดตามหลักการพหุปัญญาและส่งเสริมความถนัดสำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ความสามารถหรือความถนัดตามหลักคิดพหุปัญญาสามารถแบ่งได้ 9 ด้าน คือด้านความคิดแบบเหตุผลและคณิตศาสตร์ ด้านภาษา ด้านดนตรี ด้านมิติสัมพันธ์ ด้านการเคลื่อนไหว ด้านมนุษยสัมพันธ์ ด้านความเข้าใจตนเอง…

หลักสูตรอบรมออนไลน์ในหัวข้อ “Super GP: สุดยอดปู่ย่าตายาย รู้ดูแลและรู้พัฒนาเด็กปฐมวัยอย่างรอบด้าน”

ชื่อMU-SDGs Case Study: หลักสูตรอบรมออนไลน์ในหัวข้อ “Super GP: สุดยอดปู่ย่าตายาย รู้ดูแลและรู้พัฒนาเด็กปฐมวัยอย่างรอบด้าน” ส่วนงานหลัก: สถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว ส่วนงานร่วม: – คณะสาธารณสุขศาสตร์ – โครงการจัดตั้งวิทยาเขตนครสวรรค์ ผู้ดำเนินการหลัก: งานบริการวิชาการ การศึกษาและเทคโนโลยีสานสนเทศ ผู้ดำเนินการร่วม: ศูนย์ผู้สูงอายุเขาทอง โครงการจัดตั้งวิทยาเขตนครสวรรค์ คำอธิบาย: การให้ความรู้ผู้สูงอายุในเรื่องวิธีการส่งเสริมพัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัยที่เหมาะสมตามวัย และแนวทางการผสมผสานความรู้เก่าจากการเลี้ยงดูเด็กของผู้สูงอายุกับความรู้ใหม่ จะช่วยให้ผู้สูงอายุสนับสนุนการเลี้ยงดูเด็กของพ่อแม่ได้อย่างดี จากสถิติด้านครอบครัวไทยล่าสุดปี 2561 แสดงให้เห็นว่าเด็กไทยมีโอกาสอยู่ร่วมกับผู้สูงอายุประมาณ 31.8% โดยในจำนวนนี้…

บริการคลินิกเด็กและวัยรุ่นในรูปแบบออนไลน์

ชื่อMU-SDGs Case Study: บริการคลินิกเด็กและวัยรุ่นในรูปแบบออนไลน์ ส่วนงานหลัก: สถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว ส่วนงานร่วม: – ผู้ดำเนินการหลัก: ผู้ช่วยศาสตราจารย์ แพทย์หญิงแก้วตา นพมณีจำรัสเลิศ, นางฒามรา สุมาลย์โรจน์ ผู้ดำเนินการร่วม: คำอธิบาย: คลินิกเด็กและวัยรุ่น มีหน้าที่หลักในการสร้างองค์ความรู้ บริการวิชาการ และให้บริการการส่งเสริมพัฒนาการในเด็กที่มีปัญหาตั้งแต่เริ่มแรกเกิดจนถึงวัยรุ่น เพื่อให้เด็ก เยาวชน ได้รับการดูแลและแก้ไขได้อย่างทันท่วงทีและถูกต้อง ซึ่งจะลดปัญกาต่างๆ ที่เกิดขึ้น ส่งผลให้เด็กเติบโตเป็นพลเมืองที่มีคุณภาพของประเทศต่อไป คลินิกเด็กและวัยรุ่น มีหน้าที่หลักในการสร้างองค์ความรู้ บริการวิชาการ และให้บริการการส่งเสริมพัฒนาการในเด็กที่มีปัญหาตั้งแต่เริ่มแรกเกิดจนถึงวัยรุ่น…

โครงการเยาวชนไทยกู้ภัยโควิด ปี2563 และ 2564 : สร้างความรับรู้และการมีส่วนร่วมของเด็กและเยาวชนในการต่อสู้กับปัญหาการระบาด COVID-19

ชื่อMU-SDGs Case Study: โครงการเยาวชนไทยกู้ภัยโควิด ปี2563 และ 2564 : สร้างความรับรู้และการมีส่วนร่วมของเด็กและเยาวชนในการต่อสู้กับปัญหาการระบาด COVID-19 ส่วนงานหลัก: สถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว ส่วนงานร่วม: – คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี ผู้ดำเนินการหลัก: นางสาวมาริสา นิ่มกุล, นางสาวบุศราพร จงเจริญถาวรกุล, นายอภิชาติ มหิงสพันธุ์, แพทย์จีน ธนานันต์ แสงวณิชย์, รศ.นพ.อดิศักดิ์ ผลิตผลการพิมพ์ ผู้ดำเนินการร่วม: กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ คำอธิบาย:…

โครงการการขยายผลและพัฒนาความช่วยเหลือ กลุ่มเด็กปฐมวัยยากจนในสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย และ เด็กปฐมวัยนอกระบบ ในกรุงเทพมหานคร

จากผลการสำรวจของโครงการ MICS5 ในปี พ.ศ. 2559 มีเด็กอายุ 3-4 ปี ร้อยละ 84.7 กำลังเรียนในหลักสูตรปฐมวัย  ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ครอบครัวมีการส่งเสริมเด็กให้เข้าเรียนตั้งแต่ปฐมวัย เพื่อส่งเสริมพัฒนาการ และเตรียมความพร้อมมากขึ้น อย่างไรก็ตามข้อมูลเหล่านี้มักไม่ครอบคลุมกลุ่มเด็กพิเศษ เด็กพิการ รวมทั้งกลุ่มเด็กเปราะบางทางสังคมที่ไม่ได้อยู่ในการสำรวจ ซึ่งกลุ่มนี้เป็นกลุ่มเสี่ยงที่ควรมีการจัดกระบวนการดูแลสุขภาวะและพัฒนากระบวนการเรียนรู้ การศึกษาของ Isaranurug S และคณะ ชี้ให้เห็นว่า การศึกษาของ มารดา รายได้ครอบครัว ภาวะวิกฤตในครอบครัว และการอบรมเลี้ยงดูของบิดามารดา มีความสัมพันธ์กับพัฒนาการเด็กอายุ…

โครงการทำงานที่บ้านด้วยการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ และเพิ่มสายใยสัมพันธ์แม่-ลูก ภายใต้แนวคิดความรับผิดชอบต่อเด็กและครอบครัว & CF-Work from Anywhere

1. กิจกรรม/ผลงาน “โครงการท างานที่บ้านด้วยการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ และเพิ่มสายใยสัมพันธ์แม่-ลูก ภายใต้แนวคิดความรับผิดชอบต่อเด็กและครอบครัว & CF-Work from Anywhere” 2. รายชื่อเจ้าของกิจกรรม/ผลงาน อาจารย์ ดร.ธีรตา ขำนอง นางสาวปาลิดา ปริชญาวงศ์ 3. ที่มาและความสำคัญของผลงาน เนื่องจากสถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการได้รับนมแม่ของเด็กแรกเกิดอย่างน้อย 6 เดือน – 1 ปี แต่ข้อจำกัดเรื่องการลาคลอดบุตร ที่สามารถลาได้เพียง 90 วัน…